สล็อตออนไลน์ ‘หมอธีระ’ เตือน! หมา แมว ติดโควิดจากเจ้าของได้!

สล็อตออนไลน์ ‘หมอธีระ’ เตือน! หมา แมว ติดโควิดจากเจ้าของได้!

สล็อตออนไลน์ หมอธีระ เตือนเจ้าของสัตว์เลี้ยงว่า สุนัข และ แมว สามารถติดโควิดจากเจ้าของได้ แนะไม่ไปคลุกคลีกับสัตว์เวลาไม่สบาย นพ.ธีระ วรธนารัตน์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผย ได้ออกมาโพสต์ข้อความเฟซบุ๊กให้ความรู้เกี่ยวกับการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในสัตว์เลี้ยง โดยอ้างอิง จาก ทีมคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ รายงานในวารสารวิชาการเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา

โดยในรายงานระบุว่า 

ตรวจพบสุนัข 3 ตัว จากการตรวจ 35 ตัว และแมว 1 ตัว จากการตรวจ 9 ตัว ติดเชื้อโควิด-19 โดยเป็นทั้งหมดที่ตรวจนั้นสัตว์เลี้ยงในครัวเรือนที่มีเจ้าของติดเชื้อโควิด-19 สุนัข 1 ตัว มีอาการเล็กน้อย ส่วนตัวอื่นๆ ที่ติดเชื้อนั้นไม่มีอาการ

นพ.ธีระ กล่าวว่า ข้อมูลข้างต้นนี้ช่วยกระตุ้นให้เราตระหนักถึงความสำคัญว่าคนที่ติดเชื้อจะสามารถถ่ายทอดไปยังสัตว์เลี้ยงได้ ดังนั้น หากมีอาการไม่สบาย นอกจากควรจะแยกตัวออกจากสมาชิกในครอบครัวแล้ว ยังควรหลีกเลี่ยงการไปคลุกคลีกับสัตว์เลี้ยงในบ้าน

“ความรู้ปัจจุบัน เราทราบดีว่ามีการติดเชื้อจากคนสู่สัตว์ได้มากมายหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นสุนัข แมว ตัวมิ้งค์ เฟอร์เร่ท์ อ๊อตเตอร์ เสือ กวาง ฯลฯ ส่วนการถ่ายทอดจากสัตว์สู่คนนั้น แม้ตอนนี้เชื่อว่าอาจไม่ใช่ปัจจัยสำคัญในการแพร่ระบาด แต่กันไว้ดีกว่าแก้ เพราะมีรายงานเกี่ยวกับการติดเชื้อจากตัวมิ้งค์ไปสู่คนจากหลายประเทศทั่วโลก ทั้งในอเมริกา เนเธอร์แลนด์ โปแลนด์ ฯลฯ”

“การไม่ไปคลุกคลีกับสัตว์เลี้ยงเวลาเราไม่สบาย นอกจากจะช่วยป้องกันสัตว์ไม่ให้ติดเชื้อ และไม่เป็นตัวนำพาเชื้อโรคไปยังคนอื่นในบ้านที่จะเข้ามาสัมผัสหรือเล่นกับสัตว์เลี้ยงได้ด้วย ที่หยิบยกเรื่องนี้มาเล่าให้รับทราบกัน เพราะปัจจุบันไทยเรามีจำนวนคนติดเชื้อใหม่ในแต่ละวันจำนวนมาก โอกาสถ่ายทอดไปยังสัตว์ย่อมมีสูงขึ้นกว่าสมัยระลอกแรก ผลลัพธ์ของการควบคุมการระบาดที่เปลี่ยนไปแบบหน้ามือเป็นหลังมือนั้น ไม่ได้ส่งผลกระทบต่อชีวิตคนเท่านั้น”

รัฐบาลประกาศ คำมั่นสิทธิมนุษยชนต่อสหประชาชาติ 10 พ.ย.นี้ พร้อมคุ้มครองสิทธิมนุษยชน

รัฐบาลประกาศคำมั่นสิทธิมนุษยชนต่อสหประชาชาติ 10 พ.ย.นี้ พร้อมมีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน วันที่ 8 พฤศจิกายน 2564 นางสาวรัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยถึงการเสนอรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของไทยตามกลไก Universal Periodic Review (UPR) รอบที่3 ในวันที่ 10 พฤศจิกายนนี้ ต่อคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ซึ่งเป็นการจัดขึ้นทุก4 ปีครึ่ง สำหรับครั้งนี้ ผู้แทนของประเทศไทยจะประกาศ “คำมั่นโดยสมัครใจ”  เพื่อยืนยันเจตนารมณ์ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของรัฐบาล สรุปได้ดังนี้

1. ปรับปรุงกฎหมายให้สอดคล้องกับตราสารระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน ซึ่งรวมถึงอนุสัญญาต่อต้านการทรมาน และการปฏิบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำยีศักดิ์ศรี และอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลทุกคนจากการบังคับให้หายสาบสูญ

2. ศึกษาความเป็นไปได้ของการเข้าเป็นภาคีตราสารระหว่างประเทศเพิ่มเติม รวมทั้งอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ฉบับที่ 189 ว่าด้วยงานที่มีคุณค่าสำหรับแรงงานทำงานบ้าน

3. จัดทำรายงานระยะกลางเพื่อรายงานความคืบหน้าของการปฎิบัติตามข้อเสนอแนะที่ได้รับ รวมทั้งหารือกับภาคส่วนต่างๆอย่างต่อเนื่อง ในประเด็นตามข้อเสนอแนะที่ไทยไม่ได้ตอบรับ

4. เสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบสาธารณสุขและหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และผลักดันความร่วมมือระหว่างประเทศและพหุภาคีเพื่อการเตรียมความพร้อมและการรับมือกับโรคระบาด

5. ร่วมมือในการขจัดความไร้รัฐและส่งเสริมการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของกลุ่มคนไร้รัฐไร้สัญชาติ โดยเฉพาะในด้านการศึกษา การคุ้มครองทางสังคม การเข้าถึงบริการในการจดทะเบียนเกิดและทะเบียนราษฏรของคนไร้รัฐไร้สัญชาติ และการพิจารณาให้สัญชาติและสิทธิความเป็นพลเมื

6. เร่งส่งเสริมสิทธิมนุษยชนศึกษาและการสร้างความรู้ตระหนักรู้ด้านสิทธิมนุษยชนให้กับทุกภาคส่วน

7. พิจารณาแนวทางส่งเสริมมาตรการบังคับสำหรับภาคธุรกิจในการตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน

8. ยืนยันการประกาศ standing invitation ต่อกลไกพิเศษของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ

มากไปกว่านั้น ประเทศไทยจะตอบรับข้อเสนอแนะ ซึ่งประกอบด้วย 1) ข้อเสนอแนะที่เคยรับไว้แล้วในรอบที่ 1 (ปี2554) และรอบที่ 2 (ปี2559) 2) ข้อเสนอแนะที่สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลและการดำเนินงานในปัจจุบัน เช่น การป้องกันและปราปปรามการทุจริต การแก้ไขปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำ การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ 3) ข้อเสนอแนะที่เป็นค่านิยมเชิงหลักการที่ไทยยึดถือและปฏิบัติมาตลอด เช่น ความเท่าเทียมทางเพศการไม่เลือกปฏิบัติ 4) ข้อเสนอแนะที่ช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งของโครงสร้างสิทธิมนุษยชนในประเทศ และ 5) ข้อเสนอแนะที่หน่วยงานมีความพร้อมที่จะรับดำเนินการ เช่น การเพิ่มมาตรการและการสนับสนุนการคุ้มครองนักปกป้องสิทธิมนุษยชน การศึกษาและจัดอบรมเจ้าหน้าที่รัฐเกี่ยวกับการบังคับใช้ กฎหมายป้องกันการดำเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์เพื่อระงับการมีส่วนร่วมของสาธารณชน (Anti-SLAPP Law) /ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 161 / 1 หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง สล็อตออนไลน์